ลอบดักปลาหมึก
^^ความหมาย^^
ลอบ หมายถึง เครื่องมือประมงที่ใช้ดักจับปลาหมึกหอมหรือหมึกกระดอง จะมีลักษณะเป็นรูปโค้งคล้ายๆ ครึ่งวงกลม มีความกว้าง 75 ซม. ความยาว 105 ซม. และความสูง 55-60 ซม. ไม้ที่ใช้จะเป็นไม้มะพลาหรือไม้ทุเป็นไม้เนื้อเหนียว
^^ลักษณะและวิธีการใช้งาน^^
ปลาหมึกเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่พบมากในทะเลจังหวัดชุมพรโดยธรรมชาติ ปลาหมึกกล้วยหรือปลาหมึกหอม มักหาอาหารในที่ที่มีกิ่งไม้ใบหญ้าบริเวณริมฝั่งทะเล การจับปลาหมึกนอกจากจะใช้เรือประมงในการไดปลาหมึกแล้ว ยังสามารถใช้ลอบเป็นเครื่องมือจับปลาหมึกที่ทำขึ้นเอง เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือน
^^ที่มา^^
เนื่องจากการไปศึกษาที่เกาะพิทักษ์ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ยึดการประกอบอาชีพการทำประมงเป็นหลักและจะเห็นได้ว่าจะพบเห็นลอบดักปลาหมึกนั้นมีอยู่ทั่วไปหมดเกือบตลอดทางเดินบริเวณชายฝั่ง ซึ่งสิ่งที่พวกข้าพเจ้าได้พบเห็นนั้นทำให้พวกข้าพเจ้านั้นเกิดความสนใจที่จะศึกษาว่าอุปกรณ์ชิ้นนี้ มีการทำให้ปลากหมึกนั้นมาเข้าอยู่ข้างในได้อย่างไงและมีวิธีการที่จะวางตรงไหน เวลาไหนที่จะออกไปวางลอบและมีการทำอย่างไร
^^วัตถุประสงค์^^
1. เพื่อศึกษาการทำลอบดักปลาหมึก
2. เพื่อศึกษาเทคนิคและวิธีการในการวางลอบดักปลาหมึก
3. เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของชาวประมง
^^พื้นที่ที่ทำการศึกษา^^
:เกาะพิทักษ์ จังหวัด ชุมพร
^^ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา^^
:15 - 17 กรกฎาคม 2554
^^ขอบเขตการศึกษา^^
^^สรุป^^
การทำลอบนั้นต้องอาศัยความใจเย็นและความพิถีพิถันเป็ยอย่างมากและต้องมีความละเอียดรอบคอบเนื่องจากลอบดักปลาหมึกนั้นจะต้องมีความสมดุลกันขณะที่เรานั้นต้องเอาไปว่างในทะเล ลอบดักปลาหมึกยังสร้างประโยชน์อีกมากมาย อาทิ เช่น ประหยัดเวลา แค่เราเอาลอบไปวางไว้แล้วค่อยกลับไปดูได้ ทำให้มีเวลาไปทำกิจกรรมอื่นๆได้อีกมากมายและการใช้ลอบดักปลาหมึกยังทำให้จับ
ปลาหมึกได้จำนวนมากมากกว่าการไดปลาหมึกแถมยังรักษาสมดุลของท้องทะเลเนื่องจากลอบดักปลาหมึกจะจับแต่ปลาหมึกตัวใหญ่ๆทำให้ลูกหมึกมีโอกาสขยายพันธุ์ได้ต่อไปอีก
1.ได้ศึกษาการใช้ชีวิตของชาวประมงบนเกาะพิทักษ์
2.ได้ศึกษาถึงอุปกรณ์ในการประกอบอาชีพของชาวบ้านบนเกาะพิทักษ์
3. ได้เรียนรู้ขั้นตอนการทำลอบดักปลาหมึก
4. ได้เรียนรู้ถึงหลักการหาปลาและปลาหมึกว่ามีวิธีการหาอย่างไร
^^ข้อเสนอแนะ^^
การดักปลาหมึกหมึกนั้นควรมีระยะเวลาห่างในการดัก เพื่อให้ปลาหมึกนั้นมีการขยายพันธุ์และมีการเจริญเติบโตให้ทันกันเพราะจะเป็นการรักษาสมดุลของทะเลและไม่ให้ปลาหมึกมีจำนวนลดลงอีกด้วย
^^ขอขอบคุณ^^
-ชาวบ้านบนเกาะพิทักษ์ทุกคน
คณะผู้จัดทำ
นางสาว กฤติยา บุญราช รหัส 54170187
นาย ปริญญา ตรีรัตนาเศรฐ รหัส 54170210
นางสาว อามีนา แจ้งรู้สุข รหัส 54170235
คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ สาขาภูมิศาสตร์ ภาคปกติ
มหาวิทยาลัยบูรพา
ที่ปรึกษา
อาจารย์ ณรงค์ พลีรักษ์
:เกาะพิทักษ์ จังหวัด ชุมพร
^^ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา^^
:15 - 17 กรกฎาคม 2554
^^ขอบเขตการศึกษา^^
ศึกษาการทำลอบดักปลาหมึก วิธีใช้ลอบดักปลาหมึก ลักษณะของลอบดักปลาหมึกและศึกษาการทำประมงของคนบนเกาะพิทักษ์
^^วิธีการทำลอกดักปลาหมึก^^
^^วิธีการทำลอกดักปลาหมึก^^
^^สรุป^^
การทำลอบนั้นต้องอาศัยความใจเย็นและความพิถีพิถันเป็ยอย่างมากและต้องมีความละเอียดรอบคอบเนื่องจากลอบดักปลาหมึกนั้นจะต้องมีความสมดุลกันขณะที่เรานั้นต้องเอาไปว่างในทะเล ลอบดักปลาหมึกยังสร้างประโยชน์อีกมากมาย อาทิ เช่น ประหยัดเวลา แค่เราเอาลอบไปวางไว้แล้วค่อยกลับไปดูได้ ทำให้มีเวลาไปทำกิจกรรมอื่นๆได้อีกมากมายและการใช้ลอบดักปลาหมึกยังทำให้จับ
ปลาหมึกได้จำนวนมากมากกว่าการไดปลาหมึกแถมยังรักษาสมดุลของท้องทะเลเนื่องจากลอบดักปลาหมึกจะจับแต่ปลาหมึกตัวใหญ่ๆทำให้ลูกหมึกมีโอกาสขยายพันธุ์ได้ต่อไปอีก
^^ประโยชน์ที่ได้รับ^^
1.ได้ศึกษาการใช้ชีวิตของชาวประมงบนเกาะพิทักษ์
2.ได้ศึกษาถึงอุปกรณ์ในการประกอบอาชีพของชาวบ้านบนเกาะพิทักษ์
3. ได้เรียนรู้ขั้นตอนการทำลอบดักปลาหมึก
4. ได้เรียนรู้ถึงหลักการหาปลาและปลาหมึกว่ามีวิธีการหาอย่างไร
^^ข้อเสนอแนะ^^
การดักปลาหมึกหมึกนั้นควรมีระยะเวลาห่างในการดัก เพื่อให้ปลาหมึกนั้นมีการขยายพันธุ์และมีการเจริญเติบโตให้ทันกันเพราะจะเป็นการรักษาสมดุลของทะเลและไม่ให้ปลาหมึกมีจำนวนลดลงอีกด้วย
^^ขอขอบคุณ^^
-ชาวบ้านบนเกาะพิทักษ์ทุกคน
คณะผู้จัดทำ
นางสาว กฤติยา บุญราช รหัส 54170187
นาย ปริญญา ตรีรัตนาเศรฐ รหัส 54170210
นางสาว อามีนา แจ้งรู้สุข รหัส 54170235
คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ สาขาภูมิศาสตร์ ภาคปกติ
มหาวิทยาลัยบูรพา
ที่ปรึกษา
อาจารย์ ณรงค์ พลีรักษ์